ระบบรถสายพานลำเลียง
สายพานลำเลียง (Conveyor Belt System) คือ ระบบลำเลียงเคลื่อนย้ายอุปกรณ์ ชิ้นงาน ผลิตภัณฑ์หรือลำเลียงกระสอบจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง โดยใช้สายพานลำเลียง (Belt) และมอเตอร์เกียร์เป็นตัวขับเคลื่อนสายพานลำเลียงกระสอบ หลังจากผ่านกระบวนต่าง ๆ ของทางโรงงานเรียบร้อยแล้วและต้องการเคลื่อนย้ายผลิตภัณฑ์ไปที่ต้องการ ดังนั้นระบบสายพานลำเลียงจึงเหมาะกับโรงงานอุตสาหกรรมทุกประเภททั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่
สายพานลำเลียงแบบมือหมุน
ดังนั้น ระบบสายพานลำเลียงจึงเหมาะสำหรับ โรงงานอุตสาหกรรมทุกประเภท ที่ใช้ระบบสายพานลำเลียงในกระบวนการผลิต
ข้อดีและข้อเสียของสายพานลำเลียง
l โครงสร้างที่เรียบง่าย สายพานลำเลียงยังกำหนดและขนส่งวัสดุภายในเส้นบางช่วง มีโครงสร้างตัวเครื่องขนาดกะทัดรัดน้ำหนักเบาและต้นทุนต่ำกว่า เนื่องจากการโหลดที่สม่ำเสมอและมีเสถียรภาพความเร็วการใช้พลังงานระหว่างกระบวนการทำงานไม่เปลี่ยนแปลงมากนัก ภายใต้เงื่อนไขของสายพานลำเลียงพลังงานที่สายพานลำเลียงต้องมีขนาดเล็ก
สายพานลำเลียงแบบมือหมุน
สายพานลำเลียง
ดังนั้น ระบบสายพานลำเลียงจึงเหมาะสำหรับ โรงงานอุตสาหกรรมทุกประเภท ที่ใช้ระบบสายพานลำเลียงในกระบวนการผลิต
ระบบสายพานลำเลียง (Belt Conveyor System) มี 4 ประเภท
1. ระบบสายพานลำเลียง Plastic Belt Conveyor System (แบบพลาสติก
ระบบสายพานลำเลียง Plastic Belt Conveyor System (แบบพลาสติก)
สำหรับลำเลียงชิ้นงานหรือวัสดุขึ้นในแนวลาดเอียง ในไลน์การผลิตที่มีการลำเลียงต่างระดับ ระบบสายพานลำเลียงแบบพลาสติก สามารถลำเลียงผ่านน้ำหรือลำเลียงชิ้นงานที่เปียกได้ และยังไม่เป็นสนิท ลักษณะการทำงานของระบบสายพานลำเลียงแบบพลาสติก จะลำเลียงจากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่ง โดยการลำเลียงจะมีลักษณะแนวลาดเอียง ลำเลียงจากที่ต่ำขึ้นสู่ที่สูง องศาลาดเอียงของระบบสายพานลำเลียงแบบพลาสติก จะเริ่มตั้งแต่ 10องศา และไม่เกิน 45องศา
เหมาะสำหรับงานลำเลียงประเภทยาง , อาหาร , บรรจุภัณฑ์หีบห่อ หรือ ลำเลียงสิ่งของที่ต้องผ่านเครื่อง X-Ray ... ข้อมูลเพิ่มเติม >> ระบบสายพานลำเลียง Plastic Belt Conveyor System (แบบพลาสติก)
2. ระบบสายพานลำเลียง Canvas Belt Conveyor System (แบบผ้าใบ)
ระบบสายพานลำเลียง Canvas Belt Conveyor System (แบบผ้าใบ) สำหรับลำเลียงชิ้นงานหรือวัสดุ ระบบสายพานลำเลียงแบบผ้าใบ สามารถทนความร้อนได้และมีความยืดหยุ่นค่อนข้างน้อยเมื่อรับแรงดึง ลักษณะการทำงานของระบบสายพานลำเลียงแบบผ้าใบจะลำเลียงจากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่ง โดยสามารถขยับตัวระบบลำเลียงให้ตรงกับไลน์การผลิตได้
เหมาะสำหรับงานลำเลียงประเภทยาง , อาหาร เป็นต้น ...
ข้อมูลเพิ่มเติม >> ระบบสายพานลำเลียง Canvas Belt Conveyor System (แบบผ้าใบ)
3. ระบบสายพานลำเลียง PVC Belt Conveyor System (แบบ PVC)
ระบบสายพานลำเลียง PVC Belt Conveyor System (แบบ PVC) สำหรับลำเลียงชิ้นงานหรือวัสดุที่มีน้ำหนักเบา ระบบสายพานลำเลียงแบบ PVC สามารถทนความร้อนได้และราคาถูก ลักษณะการทำงานของระบบสายพานลำเลียงแบบ PVC จะลำเลียงจากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่ง
เหมาะสำหรับงานลำเลียงในอุตสาหกรรมอาหาร สินค้าที่บรรจุหีบห่อที่มีน้ำหนักเบาและต้องการความสะอาด
ข้อมูลเพิ่มเติม >> ระบบสายพานลำเลียง PVC Belt Conveyor System (แบบ PVC)
4. ระบบสายพานลำเลียง Metal Detector Belt Conveyor System
ระบบสายพานลำเลียง Metal Detector Belt Conveyor Syste
(เครื่องตรวจหาโลหะ)
มีระบบสายพานลำเลียง 2 แบบ
คือ 1.แบบพลาสติก 2. แบบ PVC
สำหรับลำเลียงชิ้นงานหรือวัสดุเข้าเครื่องตรวจหาโลหะ หลังจากชิ้นงานหรือวัสดุผ่านกระบวนการขั้นตอนต่าง ๆ มาแล้ว เมื่อมาถึงเครื่องตรวจหาโลหะ ในรูปแบบบรรจุภัณฑ์หรือรูปแบบชิ้นงาน เช่น ซองพลาสติก กล่องกระดาษ ขวดแก้ว ยาง เครื่องตรวจหาโลหะใช้พลังงานแม่เหล็ก โดยทำให้เกิดสนามแม่เหล็ก (Electro Magnetic Field) เมื่อมีโลหะ เช่น เหล็กปนอยู่ในแผ่นยาง เครื่องจะทำการแจ้งเตือนในรูปแบบ
ภาพประกอบ สายพานลำเลียงแบบต่าง ๆ
ปัญหาที่เกิดจากการใช้สายพานลำเลียง มีรายละเอียดดังนี้
ปกติเมื่อเครื่องสายพานลำเลียงทำงานนั้น ที่ผิวหน้าสายพานบริเวณที่สัมผัสกับวัสดุโดยตรง หรือที่นิยมเรียกทับศัพท์กันว่า “Top Cover” นั่นเอง ที่บริเวณนี้เองที่มักจะมีวัสดุบางส่วนที่เกาะติดอยู่ เนื่องเพราะ เมื่อสายพานได้ทำหน้าที่ส่งวัสดุไปตามสายการทำงานแล้วนั้น ยังมีวัสดุที่มีความชื้นค่อนข้างสูงบางส่วนเกาะติดตามผิวด้านบนของสายพาน ซึ่งเรียกกันว่า “Carry Back” เจ้าตัวนี้เองเมื่อสายพานเคลื่อนที่ไปก็ความชื้นก็จะลดลงเพราะเคลื่อนที่สัมผัสกับอากาศเมื่อความชื้นลดลง ความสามารถในการยึดเกาะก็ลดลงตามไปด้วย จึงเกิดการร่วงลงสะสมตามใต้เครื่องสายพานลำเลียง หรือบางจุดที่ความชื้นยังเหลืออยู่มาก ไม่สามารถร่วงลงได้ด้วยตัวเอง เมื่อสายพานพาเคลื่อนที่ไปสัมผัสการลูกกลิ้งรีเทิร์นวัสดุเหล่านี้ก็จะหลุดออกจากผิวสายพานลงสะสมตามลูกกลิ้งแทน ซึ่งนำความเสียหายอื่นตามมาอีกมากมาย เช่น ลูกกลิ้งเสียหายเนื่องจากการขัดสี หรือลูกปืนแตก ลูกกลิ้งไม่หมุน ทำให้เกิดการสูญเสียพลังงานในการทำงานของเครื่องจักร เพราะความเสียดทานเพิ่มขึ้น หรือเป็นสาเหตุหนึ่งของปัญหาสายพานเดินไม่ตรงแนว เพราะวัสดุที่สะสมตามลูกกลิ้งรีเทิร์นนั้นจะมีผลทำให้ขนาดของลูกกลิ้งเปลี่ยนไปไม่เท่ากันตลอดแนวคือไม่ได้แนวขนานกันตามที่ควร ปัญหาการทำความสะอาดบริเวณใต้จักรซึ่งในบางครั้งอยู่ในพื้นที่คับแคบทำให้ต้องมีการหยุดเครื่องจักรเพื่อการทำความสะอาด เสียค่าใช้จ่ายในการสตาร์ทเครื่องอีก รวมถึงการเกิดฝุ่นละอองในอากาศ เมื่อมีลมพัดผ่านจุดที่วัสดุกองสะสมเกิดเป็นมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมวัสดุบางประเภทถ้ามีการสะสมมากๆอาจทำให้เกิดความร้อนสูงการติดไฟ อาจนำมาซึ่งไฟไหม้ระบบสายพานลำเลียงหรือไฟไหม้โรงงานได้ เหล่านี้เป็นต้น
เอาล่ะคราวนี้เรามาดูกันว่าเจ้า Carryback ที่เรากล่าวถึงกันมาในข้างต้นมันมีผลกระทบอย่างไรกับการทำงานของเครื่องสายพานลำเลียง ซึ่งต่อไปเราจะเรียกกันทับศัพท์ว่า Belt Conveyor จะได้ดูอินเทรนด์หน่อยคงไม่ว่ากัน เข้าเรื่องดีกว่า…
ผลกระทบที่เกิดจาก ผลกระทบที่เกิดจาก Carryback
1. พลังงาน ต้องการพลังงานมากขึ้นในการขับเคลื่อนเครื่องจักร เนื่องจากความเสียดทานในระบบเพื่มขึ้นจากการที่ลูกกลิ้งไม่หมุน และสายพานเคลื่อนที่ถูไปกับกองวัสดุที่สะสมกันจนถึงระดับการเคลื่อนที่ของสายพาน
2.ความเสียหายของชิ้นส่วนเครื่องจักร
2.1 ลูกกลิ้ง เสียหายเนื่องจากลูกปืนตาย และอื่นๆ2.2 โครงสร้าง ในกรณีที่เครื่องสายพานลำเลียงวัสดุที่กัดกร่อน เช่น น้ำตาล สารเคมี ปุ๋ย ซึ่งกัดกร่อนโครงสร้างให้ชำรุดเสียหายได้2.3 อายุการใช้งานของสายพานสั้นลงเนื่องจากการถูกขัดสี หรือการเสียหายเนื่องจากสายพานวิ่งไม่ได้แนวทำให้ขอบสายพานไปชนเข้าโครงสร้างขอบแตก เมื่อขอบแตกชั้นผ้าใบที่อยู่ภายก็จะสามารถสัมผัสกับวัสดุได้ทำให้ชั้นผ้าใบเสื่อมคุณภาพได้ง่ายขึ้น อายุการใช้งานสายพานจึงสั้นลง
3.การทำความสะอาด ต้องกำลังคนในการทำความสะอาดและต้องหยุดเครื่องจักรก่อนเข้าไปทำงานบริเวณใกล้เครื่องเพื่อความปลอดภัยในการทำงานตามมาตรฐานสากล นำมาซึ่งค่าใช้จ่ายในการสตาร์ทเริ่มเดินเครื่องใหม่ ค่าจ้างแรงงานในการทำความสะอาด ค่าเสียเวลาในการหยุดเครื่องรอ
4. วัสดุที่ร่วงระหว่างการลำเลียงกลายวัสดุที่สูญเสีย (Product loss) ในกระบวนการผลิต ซึ่งก็ทำให้บริษัทสูญเสียรายได้ด้วยเช่นกัน ยิ่งถ้าเป็นกรณีที่วัสดุที่ลำเลียงนั้นมีมูลค่าสูง หรือค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการนำเศษวัสดุเหล่านั้นกลับเข้าในกระการผลิตอีกครั้ง
5..อุบัติเหตุ อันเนื่องมาจากสภาพแวดล้อมในการทำงานไม่ปลอดภัย
ประสิทธิภาพการผลิตโดยรวมลดลง
ที่กล่าวมาข้างต้นนี้แสดงให้เห็นว่าเราควรจะมีการจัดการที่เหมาะสมเพื่อลดเศษวัสดุ (Carry back) เหล่านี้ให้เหลือน้อยที่สุดเท่าที่สามารถได้ วิธีการที่น่าจะเหมาะสมที่สุดคือการกำจัดเศษวัสดุเหล่านี้ ณ จุดที่เกิดนั่นคือ จุดขนถ่าย (Transfer point) หรือที่พูเล่ย์หัวขับสายพาน (Head Pulley) เพื่อให้เศษวัสดุเข้าไปในกระบวนการต่อไปน้อยที่สุด โดยการติดตั้งอุปกณ์ทำความสะอาดสายพานประสิทธิภาพสูงๆเพื่อกำจัด Carry back ออกให้มากๆ และที่สำคัญ เศษวัสดุที่กำจัดออกที่ตำแหน่งสามารถตกลงสู่สายการลำเลียง (Process Line) ต่อไปการเกริ่นนำคงต้องหยุดไว้เพียงเท่านี้ก่อน
ข้อดีและข้อเสียของสายพานลำเลียง
l หลังจากการพัฒนาเป็นเวลาหลายร้อยปีสายพานลำเลียงได้กลายเป็นหนึ่งในอุปกรณ์ที่สำคัญสำหรับการขนส่งวัสดุจำนวนมาก อุตสาหกรรมขนส่งและขนส่งในยุคใหม่ที่มีการขยายตัวอย่างต่อเนื่องและในกระบวนการขนส่งมีความต้องการสูงสำหรับการขนส่งวัสดุเช่นความต้องการที่เพิ่มขึ้นสำหรับความน่าเชื่อถือทางเศรษฐกิจประสิทธิภาพสูง ฯลฯ ในกระบวนการขนส่งวัสดุ
ความสามารถในการลำเลียงผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจการติดตั้งและการบำรุงรักษาและข้อได้เปรียบที่สำคัญอื่น ๆ ของสายพานลำเลียงได้กลายเป็นอุปกรณ์การขนส่งที่เป็นที่ต้องการของผู้คนและมีการใช้กันอย่างแพร่หลายมากขึ้น ในขณะเดียวกันความต้องการด้านประสิทธิภาพของอุปกรณ์ลำเลียงสายพานมีมากขึ้นเรื่อย ๆ
คุณสมบัติสายพานลำเลียง:
l มีความสามารถในการลำเลียงขนาดใหญ่สามารถขนส่งวัสดุได้อย่างต่อเนื่องโดยไม่มีการขัดจังหวะและสามารถบรรทุกและขนถ่ายได้โดยไม่ต้องหยุดระหว่างกระบวนการลำเลียง ไม่ก่อให้เกิดการส่งเป็นระยะ ๆ เนื่องจากไม่มีการโหลดและในเวลาเดียวกันมันไม่ได้เริ่มต้นและเบรคบ่อยๆ ความสามารถในการลำเลียงแบบความเร็วสูงอย่างต่อเนื่องและความเร็วสูงสามารถใช้สำหรับอุปกรณ์ลำเลียงของมันไม่สามารถเทียบได้
l โครงสร้างที่เรียบง่าย สายพานลำเลียงยังกำหนดและขนส่งวัสดุภายในเส้นบางช่วง มีโครงสร้างตัวเครื่องขนาดกะทัดรัดน้ำหนักเบาและต้นทุนต่ำกว่า เนื่องจากการโหลดที่สม่ำเสมอและมีเสถียรภาพความเร็วการใช้พลังงานระหว่างกระบวนการทำงานไม่เปลี่ยนแปลงมากนัก ภายใต้เงื่อนไขของสายพานลำเลียงพลังงานที่สายพานลำเลียงต้องมีขนาดเล็ก
l ระยะลำเลียงยาว ไม่เพียง แต่เครื่องเดียวจะเพิ่มความยาวในการขนส่ง แต่ยังสามารถเชื่อมต่อเครื่องเดียวหลายชุดเข้าด้วยกันเพื่อสร้างสายส่งทางไกล
ข้อเสียของสายพานลำเลียง:
l ความเป็น สากล เครื่องแต่ละประเภทโดยทั่วไปมีความสามารถในการลำเลียงวัสดุประเภทใดชนิดหนึ่งและความสามารถในการลำเลียงบางประเภท
l สายส่งมีข้อ จำกัด มาก สายส่งแต่ละสายมีการเปลี่ยนแปลงและไม่เปลี่ยนแปลง เมื่อสายส่งเปลี่ยนไปคุณต้องจัดเรียงสายพานลำเลียงใหม่ หากคุณต้องการเปลี่ยนสถานที่ของจุดขนถ่ายสินค้าบ่อยๆคุณจำเป็นต้องติดตั้งสายพานลำเลียงไว้ในชั้นวางพิเศษและใช้การเคลื่อนไหวเพื่อปรับให้เข้ากับความต้องการในการจัดส่ง
l ไม่สามารถนำวัสดุไปใช้โดยอัตโนมัตินอกจากสายพานลำเลียงเพียงไม่กี่สายสามารถดึงวัสดุออกจากกองซ้อนได้โดยอัตโนมัติส่วนอุปกรณ์อื่น ๆ ส่วนใหญ่จะต้องใช้สำหรับการเรียกคืน
ประโยชน์การใช้งานของสายพานลำเลียง!!
สายพานลำเลียงหรือ Conveyor belt
ที่เป็นเครื่องลำเลียงสินค้าแบบสายพานที่มีลักษณะการเชื่อมต่อกันเป็นวง แล้วขับเคลื่อนหมุนวน โดยมีสายพานเป็นตัววางสินค้าเพื่อลำเลียงไปยังอีกที่หนึ่ง
ที่เป็นเครื่องลำเลียงสินค้าแบบสายพานที่มีลักษณะการเชื่อมต่อกันเป็นวง แล้วขับเคลื่อนหมุนวน โดยมีสายพานเป็นตัววางสินค้าเพื่อลำเลียงไปยังอีกที่หนึ่ง
ระบบ AGV
(Automated Guided Vehicle System หรือ AGVS)
รถขนส่งเคลื่อนที่อัตโนมัติ AGV มีหลายชนิดให้เลือกตามความเหมาะสมของการใช้งานตั้งแต่ การใช้งานแบบลากจูง container ,แบบยก container จนถึงแบบรถยก (Forklift) ในลักษณะต่างๆ โดยมีระบบควบคุมเส้นทางและนำทางการขับเคลื่อน (The Vihicle Navigation & Guidance System) ด้วยการเหนี่ยวนำของสนามแม่เหล็กที่ฝังอยู่ในพื้นผิวทางเดินรถ AGV หรือแบบควบคุมโดยการ ตรวจจับด้วยแสงเลเซอร์เพื่อให้รถ AGV สามารถเคลื่อนที่ไปตามเส้นทางที่กำหนดได้
รถ AGV แต่ละชนิดรับน้ำหนักได้ต่างกันตั้งแต่ 400-1,200 กิโลกรัม หรือมากกว่า ขึ้นอยู่กับการใช้งานแต่ละประเภท โดยมีความเร็วในการขับเคลื่อน 1.2-1.7 เมตร ต่อวินาที
รถ AGV ทุกคันจะติดตั้งระบบเลเซอร์ตรวจจับความเคลื่อนไหวที่ประกันได้ว่ามีระดับความปลอดภัยสูงสุด โดยติดตั้งทั้งด้านหน้าและหลังของตัวรถ และแบ่งการเตือนภัยออกเป็น 2 พื้นที่ คือ พื้นที่เตือนภัย( Warning Area)และพื้นที่หยุด (Stopping Area) กล่าวคือ ถ้ามีบุคคลเดินเข้าในเขตพื้นที่เตือนภัย รถ AGV จะลดความเร็วลงจากความเร็วสูงสุด (Maximum Speed) เป็นลักษณะแบบเคลื่อนที่ช้า (Crawling Speed) และถ้าตรวจจับได้ในพื้นที่หยุด รถ AGV จะหยุดทันที โดยระยะทางของพื้นที่เตือนและพื้นที่หยุด จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับระดับความเร็วของรถ AGV
ทั้งนี้แบตเตอรี่ที่ใช้เป็นแบบ Maintenace Free สามารถใช้งานได้ติดต่อกันแบบต่อเนื่องนานถึง 8-10 ชั่วโมง โดยไม่ต้องนำแบตเตอรี่ออกจากตัวรถ
รูปภาพประกอบ รภ AGV
รถขนส่งเคลื่อนที่อัตโนมัติ AGV มีหลายชนิดให้เลือกตามความเหมาะสมของการใช้งานตั้งแต่ การใช้งานแบบลากจูง container ,แบบยก container จนถึงแบบรถยก (Forklift) ในลักษณะต่างๆ โดยมีระบบควบคุมเส้นทางและนำทางการขับเคลื่อน (The Vihicle Navigation & Guidance System) ด้วยการเหนี่ยวนำของสนามแม่เหล็กที่ฝังอยู่ในพื้นผิวทางเดินรถ AGV หรือแบบควบคุมโดยการ ตรวจจับด้วยแสงเลเซอร์เพื่อให้รถ AGV สามารถเคลื่อนที่ไปตามเส้นทางที่กำหนดได้
Add caption |
รถ AGV แต่ละชนิดรับน้ำหนักได้ต่างกันตั้งแต่ 400-1,200 กิโลกรัม หรือมากกว่า ขึ้นอยู่กับการใช้งานแต่ละประเภท โดยมีความเร็วในการขับเคลื่อน 1.2-1.7 เมตร ต่อวินาที
รถ AGV ทุกคันจะติดตั้งระบบเลเซอร์ตรวจจับความเคลื่อนไหวที่ประกันได้ว่ามีระดับความปลอดภัยสูงสุด โดยติดตั้งทั้งด้านหน้าและหลังของตัวรถ และแบ่งการเตือนภัยออกเป็น 2 พื้นที่ คือ พื้นที่เตือนภัย( Warning Area)และพื้นที่หยุด (Stopping Area) กล่าวคือ ถ้ามีบุคคลเดินเข้าในเขตพื้นที่เตือนภัย รถ AGV จะลดความเร็วลงจากความเร็วสูงสุด (Maximum Speed) เป็นลักษณะแบบเคลื่อนที่ช้า (Crawling Speed) และถ้าตรวจจับได้ในพื้นที่หยุด รถ AGV จะหยุดทันที โดยระยะทางของพื้นที่เตือนและพื้นที่หยุด จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับระดับความเร็วของรถ AGV
ทั้งนี้แบตเตอรี่ที่ใช้เป็นแบบ Maintenace Free สามารถใช้งานได้ติดต่อกันแบบต่อเนื่องนานถึง 8-10 ชั่วโมง โดยไม่ต้องนำแบตเตอรี่ออกจากตัวรถ
ประโยนช์ของรถ AGV
รถ AGV power stacker 1 คัน สามารถขับเคลื่อนโดยไม่ต้องใช้พนักงานขับ จะสามารถประหยัด
ค่าแรงคนงาน ได้ดังนี้ (ประมาณการที่ค่าแรงขั้นต่ำ300บาท และค่าสวัสดิการอื่นๆ)
ถ้าใช้งานAGV 1 กะ:วัน (8ชม.) ลดค่าใช้จ่ายแรงคนงาน 1 คน = 10,000 ฿:เดือน หรือ = 120,000฿:ปี
ถ้าใช้งานAGV 2 กะ:วัน (16ชม.)ลดค่าใช้จ่ายแรงคนงาน 2 คน = 20,000 ฿:เดือน หรือ = 240,000฿:ปี
ถ้าใช้งานAGV 3 กะ:วัน (24ชม.) ลดค่าใช้จ่ายแรงคนงาน 3 คน = 30,000 ฿:เดือน หรือ = 360,000฿:ปี
ในการลงทุนปรับปรุงรถยกให้เป็นรถ AGV ประมาณเบื้องต้นว่า มีค่าใช้จ่ายราว 300,000 ฿ ต่อคัน จะสามารถคืนทุนในเวลา
2ปี 6 เดือน ถ้าใช้งาน 1 กะ:วัน
1ปี 3 เดือน ถ้าใช้งาน 2 กะ:วัน
เพียง 10 เดือน ถ้าใช้งาน 3 กะ:วัน
ซึ่งถ้าลงทุนใช้รถ AGV หลายคันทางบริษัทก็จะสามารถลดค่าใช้จ่ายได้อีกเป็นอัตราเพิ่มขึ้น
ใน กรณีศึกษา ที่มีการใช้คนงาน 6 คน และ รถ Power stacker 3 คัน หากมีการใช้ AGV power stacker แทน และใช้งานถึง 3 กะ ปริมาณงานที่ได้จาก รถAGV
ก็จะเท่ากับ ปริมาณงานของคนงานถึง 9 คน นั่นคือผลกำไรที่ได้คืนมา ประมาณ 90,000 บาทต่อเดือน หรือ 1,080,000 บาทต่อปี
เพิ่มประสิทธิภาพและปริมาณการทำงาน
รถAGV เริ่มงานได้ตรงเวลา ตั้งแต่ 8 โมงเช้า ถึง 5 โมงเย็นโดยไม่ต้องหยุดพัก เข้าห้องน้ำ ทานกาแฟ สูบบุหรี่ หรือ คุยโทรศัพท์
รถAGV ไม่ลาหยุด หรือ ลากิจ ไม่ขาดงานบ่อย งานจะเดินได้สม่ำเสมอ
กรณี รถเสียทางบริษัทมีบริการ Service online เป็นบริการที่รวดเร็ว และมีค่าใช้จ่ายน้อย หรือถ้าต้อง มีการ service onsite เราก็สามารถบริการได้รวดเร็ว
เพราะเป็นช่างในเมืองไทย ไม่ต้องรอจากต่างประเทศ
ความคุ้มทุนจึงเกิดจากปริมาณงานที่เพิ่มขึ้นด้วย
ลดต้นทุนแฝงด้านความเสียหายที่เกิดจากคนขับ
ความ ผิดพลาดจากมนุษย์เป็นเรื่องปรกติ การขับเฉี่ยว ชน เกิดขึ้นจากความประมาท เลินเล่อ ซึ่งจะไม่เกิดขึ้นกับรถAGV เป็นการลดความเสียหายของสินค้า
และตัวรถยกเองก็มีอายุการใช้งานยาวนานขึ้น
การ ลงทุนด้าน Automation จึงเป็นการลงทุนที่คุ้มในระยะยาว ช่วยลดต้นทุนความเสียหาย โดยการควบคุมด้วยโปรแกรมอัตโนมัติ และ อุปกรณ์ป้องกันการเฉี่ยว ชน
เป็น ผลดี ด้านจิตวิทยา ทำให้บริษัทก้าวทันยุค เทียบเท่ากับบริษัทระดับโลก ซึ่งใช้ระบบAutomation มานานนับทศวรรษแล้ว ในการติดต่อกับลูกค้า โดยเฉพาะบริษัททีมีการติดต่อกับต่างประเทศ
เจ้าของกิจการจะรู้สึกได้เองว่า คุ้ม ที่ได้ปรับปรุงกิจการให้ทันสมัยขึ้น
การ คำนวนนี้ เป็นเพียงการประมาณการ นักธุรกิจ หรือ นักบริหารที่เปรื่องปราชญ์ อาจจะมองความคุ้มทุนในด้าน automation ได้มากกว่าผุู้เขียนบทความก็เป็นได้
ภาพประกอบรถ AGV
1. การขนถ่ายสินค้า โดยใช้รถ AGV ในโรงงานอุตสหกรรม
2. การใช้งาน รถ AGV โดยการส่งสัญญาณผ่าน Wireless
3. การใช้งาน ในสถานพยาบาลของรถ AGV
4.ลักษณะการใช้งาน รถ AGV ในการขนถ่ายสินค้า ในอุตสหกรรม
ข้อดีของการใช้งานรถ AGV
รถลำเลียงอัตโนมัต AGV จะลากตัวพ่วงหลากชนิด เพื่อรับสินค้าตาม จุดต่าง ๆ ตามความต้องการของลูกค้าเช่น ไลน์ผลิต สู่คลังสินค้า หรือ จุดอื่น ๆต่อไป
สามารถทดแทนการขนสินค้า ด้วยรถโฟล์คลิฟ
ช่วยประหยัดค่าแรงคนงาน หรือคนขับรถโฟล์คลิฟ
ทำงานอัตโนมัติอย่างสม่ำเสมอ ต่อเนื่อง สามารถคำนวนการทำงานิย่างมีประสิทธิภาพได้
ปลอดภัยในการขนย้ายสินค้า ด้วยความเร็วในการเคลื่อนที่ เราสามารถควบคุมได้
เป็นมิตรต่อสภาพแวดล้อม สะอาดเพราะขับเคลื่อนด้วยระบบไฟฟ้า
ข้อเสียของการใช้งานรถ AGV
ใช้พลังงานไฟฟ้า แทนพลังงานคน
อาจมีค่าใช้จ่าย ในการสร้างรถ AGV